Category : Featured Slider
"rational drug use กับ rational lab use ถ้าปรับปรุงได้อยากปรับปรุงตรงนี้ เพราะแพทย์รุ่นใหม่มีแนวโน้มที่จะ over investigation เยอะขึ้น”...
อาจารย์ นพ. สิระ นันทพิศาล สาขาโรคภูมิแพ้ในเด็ก
“การวินิจฉัยโรคหายากทางพันธุกรรมในปัจจุบันอาจทำได้ในไม่กี่สัปดาห์ และถ้าเราวินิจฉัยได้ ก็จะให้การรักษาผู้ป่วยแบบเฉพาะเจาะจงได้”...
อาจารย์ พญ. ทวิติยา สุจริตรักษ์ สาขาโรคติดเชื้อในเด็ก
"ถ้าเราไม่มีโอกาสต่อให้ตัวเรามีความสามารถก็ไม่มีทางสำเร็จ บางคนเก่งมาก แต่ไม่มีผู้ใหญ่หยิบยื่นโอกาสให้ไปทำ ความเก่งมันก็เก็บอยู่ข้างใน"...
อาจารย์ พญ. แพรว โคตรุฉิน สาขาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน (อายุรศาสตร์โรคหัวใจ)
“การเข้าถึงการรักษาที่เปิดกว้าง อาจทำให้ประชาชนไม่พยายามป้องกันหรือดูแลตนเอง อนาคตควรมีมาตรการให้ประชาชนดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น”...
ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ ได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกแพทยสภา อีกวาระหนึ่ง
วันนี้ 6 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13.00 น. ณ ห้องประชุมวชิรเวช ชั้น 14 อาคารมหิตลาธิเบศร กระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์...
เรื่องที่แพทย์สาขาหัวใจและหลอดเลือด …ควรติดตาม เดือน ม.ค. – เม.ย. 2568
. นพ. คมสิงห์ เมธาวีกุล นายแพทย์เชี่ยวชาญด้านเวชกรรม สาขาอายุรกรรม หน่วยสรีระไฟฟ้าหัวใจ กลุ่มงานอายุรศาสตร์หัวใจ สถาบันโรคทรวงอก ปัจจุบันความรู้ในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจมีการพัฒนาไปอย่างมาก เนื่องจากมีการศึกษาหลายการศึกษาที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนแนวทางเวชปฏิบัติต่าง ๆ ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจให้ผลการรักษาดีขึ้นมาก ในคอลัมน์นี้จะขอสรุปสิ่งที่น่าติดตามต่อไป ดังนี้ Acute coronary syndrome (ACS) ในปีที่ผ่านมามีการศึกษา ULTIMATE-DAPT ซึ่งเป็นการให้ oral ticagrelor ร่วมกับ oral aspirin เปรียบเทียบกับการให้ oral ticagrelor ร่วมกับ oral placebo ในผู้ป่วย ACS หลังการทำ percutaneous coronary intervention (PCI) 1 เดือน ติดตามไปจนครบ 12 เดือน การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า การให้ oral ticagrelor......
อาจารย์ นพ. คงกระพัน ศรีสุวรรณ สาขาโรคไตในเด็ก
“เมื่อเห็นคนไข้อาการดีขึ้นโดยเฉพาะคนไข้วิกฤต ก็จะทำให้เรามีกำลังใจในการทำงานต่อไปในแต่ละวัน ไม่ย่อท้อ”...
เรื่องที่แพทย์สาขาโรคติดเชื้อ …ควรติดตาม เดือน ม.ค. – เม.ย. 2568
. รศ. นพ. รุจิภาส สิริจตุภัทร สาขาวิชาโรคติดเชื้อและอายุรศาสตร์เขตร้อน ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ข้อมูลด้านโรคติดเชื้อที่น่าสนใจ ได้แก่ 1. การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ 7 วัน เพียงพอสำหรับการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดส่วนใหญ่ การศึกษาใหม่พบว่า การใช้ยาปฏิชีวนะเพียง 7 วัน ก็เพียงพอสำหรับการรักษาภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดที่ไม่ซับซ้อน (uncomplicated bacteremia) โดยทั่วไป การรักษาภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดที่ไม่ได้เกิดจากเชื้อ Staphylococcus aureus มักใช้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำนาน 14 วัน อย่างไรก็ตามเนื่องจากการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะระยะสั้นได้รับการพิสูจน์แล้วว่าปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสำหรับการติดเชื้อหลายชนิดที่ไม่ใช่การติดเชื้อในกระแสเลือด ซึ่งยังไม่แน่ชัดว่า ระยะเวลาที่จำเป็นในการรักษาภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดนั้น ควรจะนานเท่าใด การศึกษาใหม่นี้ (BALANCE) เป็นการศึกษาแบบสุ่มควบคุมระหว่างประเทศ (international, randomized non-inferiority trial) เพื่อเปรียบเทียบระหว่างการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ 7 วัน กับ 14 วัน ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อในกระแสเลือด ผู้ป่วยที่เข้าร่วมการทดลองจะต้องไม่ติดเชื้อ S.......
อาจารย์ พญ. ศุภวรรณ บูรณพิร สาขาต่อมไร้ท่อ
"rational drug use กับ rational lab use ถ้าปรับปรุงได้อยากปรับปรุงตรงนี้ เพราะแพทย์รุ่นใหม่มีแนวโน้มที่จะ over investigation เยอะขึ้น”...
เรื่องที่แพทย์สาขาไต …ควรติดตาม เดือน ม.ค. – เม.ย. 2568
. พญ. ศศิธร คุณูปการ อายุรแพทย์โรคไต โรงพยาบาลสินแพทย์ รามอินทรา เปิดโลก AI ในวงการโรคไต: อนาคตที่ไม่ไกลเกินเอื้อม ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) เข้ามามีบทบาทสำคัญในทุกมิติของชีวิตเรา รวมถึงการดูแลสุขภาพ AI ได้กลายเป็นเครื่องมือสำคัญที่เปลี่ยนแปลงวิธีการวินิจฉัยและการรักษา ตั้งแต่การตรวจจับโรคในระยะแรก การติดตามผู้ป่วย ไปจนถึงการพัฒนาแผนการรักษาเฉพาะบุคคล ในด้านโรคไต เช่น โรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease : CKD) และโรคไตวายเฉียบพลัน (Acute Kidney Injury : AKI) ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญต่อสุขภาพของผู้ป่วยและระบบสาธารณสุข AI ได้แสดงศักยภาพในการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ที่ซับซ้อน ซึ่งมนุษย์อาจมองข้าม ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการรักษา ลดความเสี่ยงของโรค และยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยได้อย่างชัดเจน AI กับการวินิจฉัยและการดูแลโรคไต 1. การวินิจฉัยโรคไตเฉียบพลัน (AKI)......