Category : Conferences & Let’s get updated
การวินิจฉัยโรคติดเชื้อมักต้องอาศัยข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วยประกอบกับข้อมูลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ช่วยระบุเชื้อจุลชีพที่เป็นสาเหตุ...
การจี้กล้ามเนื้อเรียบหลอดลมด้วยความร้อน (Bronchial Thermoplasty)
ผู้ป่วยโรคหืดรุนแรง (severe asthma) จะมีการหนาตัวขึ้นของกล้ามเนื้อเรียบและผนังหลอดลม(1) (airway smooth muscle remodeling)...
ยาที่ใช้ในการรักษาภาวะหืดกำเริบเฉียบพลัน (Medication in asthma exacerbation)
เป้าหมายหลักในรักษาภาวะหืดกำเริบเฉียบพลันคือการฟื้นฟูการไหลของอากาศอย่างรวดเร็วและแก้ไขปัญหาการมีคาร์บอนไดออกไซด์คั่งในเลือดมากเกินไป...
Can I do cardiac rehabilitation at home ?
Artificial Intelligence (AI) หรือปัญญาประดิษฐ์ ได้กลายเป็นเครื่องมือสำคัญในวงการแพทย์ในยุคปัจจุบัน ความสามารถของ AI...
เรื่องที่แพทย์สาขาระบบทางเดินหายใจ …ควรติดตาม เดือน ม.ค. – เม.ย. 2568
สวัสดีปีใหม่ 2568 ค่ะ พบกับคอลัมน์ Let’s get update: โรคระบบการหายใจและภาวะวิกฤติระบบการหายใจกันอีกครั้ง ในปีใหม่นี้เราเริ่มด้วยการ update แนวคิดใหม่เกี่ยวกับโรค bronchiectasis และแนวปฏิบัติใหม่เกี่ยวกับ 2 กลุ่มโรคทางระบบการหายใจกันค่ะ การสรุปทบทวนบทความครั้งนี้ ได้รับความอนุเคราะห์จาก อาจารย์ นพ.ศิวดล สันหพาณิชย์ จากสาขาวิชาโรคระบบหายใจและภาวะวิกฤตระบบการหายใจ ภาควิชาอายุรศาตร์ วชิรพยาบาล คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชค่ะ เรื่องที่จะแนะนำในคอลัมน์มีดังนี้ 1. Highlight from the Seventh World Symposium on Pulmonary Hypertension(1–5) สรุปข้อมูลและแนวทางการดูแลรักษาภาวะความดันหลอดเลือดปอดสูงจากการประชุม 7th World symposium on pulmonary hypertension (PH) ในส่วนของ definition ของ PAH ยังคงใช้เกณฑ์ในการวินิจฉัยจาก......
เรื่องที่แพทย์สาขาประสาทวิทยา …ควรติดตาม เดือน ม.ค. – เม.ย. 2568
. ดร. พญ. อารดา โรจนอุดมศาสตร์ นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ ด้านเวชกรรม สถาบันประสาทวิทยา สวัสดีปีใหม่ 2568 ค่ะ ขอให้ปีนี้เป็นอีกปีที่ดีสำหรับทุกท่านค่ะ สำหรับในส่วนของวารสารทางวิชาการนั้น มีบทความที่น่าสนใจหลายบทความด้วยกัน แต่ขอยกตัวอย่างเพียงบางส่วนค่ะ หลาย ๆ ท่านน่าจะมีประสบการณ์ในการให้การรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะ Immunoglobulin G4-related pachymeningitis (IgG4-RP) ซึ่งผู้ป่วยแต่ละรายอาจมีการตอบสนองต่อการรักษาที่แตกต่างกันไป ได้มี systematic review ในเรื่อง Clinical Presentation, Investigation Findings, and Outcomes of IgG4-Related Pachymeningitis A Systematic Review โดย Sara Terrim et al ซึ่งลงในวารสาร JAMA Neurol ตีพิมพ์ online......
เรื่องที่แพทย์สาขาหัวใจและหลอดเลือด …ควรติดตาม เดือน ม.ค. – เม.ย. 2568
. นพ. คมสิงห์ เมธาวีกุล นายแพทย์เชี่ยวชาญด้านเวชกรรม สาขาอายุรกรรม หน่วยสรีระไฟฟ้าหัวใจ กลุ่มงานอายุรศาสตร์หัวใจ สถาบันโรคทรวงอก ปัจจุบันความรู้ในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจมีการพัฒนาไปอย่างมาก เนื่องจากมีการศึกษาหลายการศึกษาที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนแนวทางเวชปฏิบัติต่าง ๆ ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจให้ผลการรักษาดีขึ้นมาก ในคอลัมน์นี้จะขอสรุปสิ่งที่น่าติดตามต่อไป ดังนี้ Acute coronary syndrome (ACS) ในปีที่ผ่านมามีการศึกษา ULTIMATE-DAPT ซึ่งเป็นการให้ oral ticagrelor ร่วมกับ oral aspirin เปรียบเทียบกับการให้ oral ticagrelor ร่วมกับ oral placebo ในผู้ป่วย ACS หลังการทำ percutaneous coronary intervention (PCI) 1 เดือน ติดตามไปจนครบ 12 เดือน การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า การให้ oral ticagrelor......
เรื่องที่แพทย์สาขาโรคติดเชื้อ …ควรติดตาม เดือน ม.ค. – เม.ย. 2568
. รศ. นพ. รุจิภาส สิริจตุภัทร สาขาวิชาโรคติดเชื้อและอายุรศาสตร์เขตร้อน ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ข้อมูลด้านโรคติดเชื้อที่น่าสนใจ ได้แก่ 1. การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ 7 วัน เพียงพอสำหรับการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดส่วนใหญ่ การศึกษาใหม่พบว่า การใช้ยาปฏิชีวนะเพียง 7 วัน ก็เพียงพอสำหรับการรักษาภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดที่ไม่ซับซ้อน (uncomplicated bacteremia) โดยทั่วไป การรักษาภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดที่ไม่ได้เกิดจากเชื้อ Staphylococcus aureus มักใช้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำนาน 14 วัน อย่างไรก็ตามเนื่องจากการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะระยะสั้นได้รับการพิสูจน์แล้วว่าปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสำหรับการติดเชื้อหลายชนิดที่ไม่ใช่การติดเชื้อในกระแสเลือด ซึ่งยังไม่แน่ชัดว่า ระยะเวลาที่จำเป็นในการรักษาภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดนั้น ควรจะนานเท่าใด การศึกษาใหม่นี้ (BALANCE) เป็นการศึกษาแบบสุ่มควบคุมระหว่างประเทศ (international, randomized non-inferiority trial) เพื่อเปรียบเทียบระหว่างการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ 7 วัน กับ 14 วัน ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อในกระแสเลือด ผู้ป่วยที่เข้าร่วมการทดลองจะต้องไม่ติดเชื้อ S.......
เรื่องที่แพทย์สาขาต่อมไร้ท่อ …ควรติดตาม เดือน ม.ค. – เม.ย. 2568
. พล.ต. หญิง รศ. พญ. อภัสนี บุญญาวรกุล แผนกต่อมไร้ท่อ กองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า A focused update to the 2019 NLA scientific statement on use of lipoprotein(a) in clinical practice ปัจจุบันข้อมูลของ lipoprotein(a) [Lp(a)] เพิ่มมากขึ้น The National Lipid Association (NLA) Scientific Statement on Use of Lipoprotein(a) in Clinical Practice ในปี 2019 ได้มีการปรับเปลี่ยนโดยมีคำแนะนำของ NLA ปี......
Triple impact approach to reduce mother to child transmission: HIV
ประเทศไทยได้รับการรับรองการยุติการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากองค์การอนามัยโลก ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2558...